วิทยาลัยสารพัดช่างสระบุรี
5/10 ถนนพหลโยธิน  ตำบลปากเพรียว  อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี 18000
เบอร์โทรศัพท์ 0-36200661
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
ตามมาตรการของคสช. และนโยบายด้านการศึกษา รมต.ศธ.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561


  1. การประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ( Functional Based )
                
        ตัวชี้วัดที่ 1.1 :    ร้อยละของผลการรับนักเรียนระดับ ปวช. 1 ที่สมัครเข้าศึกษาใหม่ไม่ต่ำกว่าแผนที่ตั้งไว้   
                                             
         นำ้หนัก : ร้อยละ 50

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีการจัดทำแผนการรับนักเรียนนักศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560  (ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             มีผลการรับนักเรียนระดับปวช.1 ปีการศึกษา 2560 ต่ำกว่าแผนฯที่กำหนด (ระดับ 1)
 
             มีผลการรับนักเรียนระดับปวช.1 ปีการศึกษา 2560 เป็นไปตามแผนฯที่กำหนด (ระดับ 3) 

             มีผลการรับนักเรียนระดับ ปวช.1 ปีการศึกษา 2560 สูงกว่าแผนฯที่กำหนด (ระดับ 5)    
   
                    
               
        ตัวชี้วัดที่ 1.2 :  ประสิทธิผลการลดการออกกลางคันของนักเรียนนักศึกษาในปีการศึกษา 2560                                                              
         นำ้หนัก : ร้อยละ 30

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีการจัดทำแผนการลดการออกกลางคันของนักเรียนนักศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ. 2560(ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             มีผลการลดการออกกลางคันของนักเรียนนักศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ. 2560  ต่ำกว่าแผนฯที่กำหนด (ระดับ 1)
 
             มีผลการลดการออกกลางคันของนักเรียนนักศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ. 2560 เป็นไปตามแผนฯที่กำหนด(ระดับ 3) 

             มีผลการลดการออกกลางคันของนักเรียนนักศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ. 2560  สูงกว่าแผนฯที่กำหนด (ระดับ 5)  


         ตัวชี้วัดที่ 1.3 :  การจัดรายงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา  

         นำ้หนัก : ร้อยละ 20

         เกณฑ์การให้คะแนน  

             สถานศึกษาจัดส่งรายงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไม่ทันภายในระยะเวลาที่สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพกำหนด  (ระดับ 1)
 
             สถานศึกษาจัดส่งรายงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาทันภายในระยะเวลาที่สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพกำหนด   (ระดับ 5)




2. การประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการตามแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลกระทรวงศึกษาธิการ  และสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ( Agenda  Based )
                
        ตัวชี้วัดที่ 2.1 :  ระดับความสำเร็จการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของผู้เรียนในสถานศึกษา                                                         
         นำ้หนัก:ร้อยละ 25

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีการจัดทำแผนการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนนักศึกษาร่วมกับสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา  (ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             สถานศึกษาไม่ดำเนินการตามแผนการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนนักศึกษาร่วมกับสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา (ระดับ 1)
 
             สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนนักศึกษาร่วมกับสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา (ระดับ 3) 

             สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนนักศึกษาร่วมกับสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา และมีผลสำเร็จของแผนฯ (ระดับ 5)    
   
                    
               
        ตัวชี้วัดที่ 2.2 :  ระดับความสำเร็จการส่งเสริมการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนคุณธรรมจริยธรรมของสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา 

         นำ้หนัก : ร้อยละ 25

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีแผนการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนคุณธรรมจริยธรรมของสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา   (ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             สถานศึกษาไม่ดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนคุณธรรมจริยธรรมของสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา   (ระดับ 1)
 
             สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนคุณธรรมจริยธรรมของสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา  (ระดับ 3) 

             สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนคุณธรรมจริยธรรมของสถานศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา และบรรลุผลตามกิจกรรม/โครงการของแผนฯ(ระดับ 5)  


         ตัวชี้วัดที่ 2.3 :  ระดับความสำเร็จในการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนสะอาดของสถานศึกษา 
                                                  
         นำ้หนัก : ร้อยละ 25

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีแผนการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนสะอาดของสถานศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2560(ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             สถานศึกษาไม่ดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนสะอาดของสถานศึกษา ในปีการศึกษา พ.ศ. 2560   (ระดับ 1)
 
             สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนสะอาดของสถานศึกษา ในปีการศึกษา พ.ศ. 2560  (ระดับ 3) 

             สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรม/โครงการโรงเรียนสะอาดของสถานศึกษา ในปีการศึกษา พ.ศ. 2560 และบรรลุผลตามกิจกรรม/โครงการของแผนฯ (ระดับ 5)  


         ตัวชี้วัดที่ 2.4 :  ระดับความสำเร็จของการจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี 
                                                   
         นำ้หนัก : ร้อยละ 25

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคีของสถานศึกษา  (ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             สถานศึกษาไม่ดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคีของสถานศึกษา ในปีการศึกษา พ.ศ. 2560   (ระดับ 1)
 
             สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคีของสถานศึกษา ในปีการศึกษา พ.ศ. 2560  (ระดับ 3) 

             สถานศึกษาดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคีของสถานศึกษา ในปีการศึกษา พ.ศ. 2560 และบรรลุผลตามกิจกรรม/โครงการของแผนฯ (ระดับ 5)  




3. การประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการเพื่อสนับสนุนงานในพื้นที่ ท้องถิ่น ภูมิภาคจังหวัด กลุ่มจังหวัด หรือที่ตั้งส่วนราชการ ( Area  Based )
                
         ตัวชี้วัดที่ 3 :  ระดับความสำเร็จการสร้างภาพลักษณ์และการสร้างเครื่อข่ายความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษา                                    
         นำ้หนัก:ร้อยละ 100

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีการจัดทำแผนการสร้างภาพลักษณ์และการสร้างเครื่อข่ายความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560  (ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             สถานศึกษาไม่ดำเนินการตามแผนการสร้างภาพลักษณ์และการสร้างเครื่อข่ายความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษา (ระดับ 1)
 
             ถานศึกษาดำเนินการตามแผนการสร้างภาพลักษณ์และการสร้างเครื่อข่ายความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษา (ระดับ 5) 




ตามมาตรการของคสช. และนโยบายด้านการศึกษา รมต.ศธ.
4. ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงบประมาณ  ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ ( Innovation  Based )
                
        ตัวชี้วัดที่ 4.1 :  ผลสำเร็จการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากร  และปริมาณงานของสถานศึกษา                                                         
         นำ้หนัก:ร้อยละ 25

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษาตามแบบฟอร์มที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด  และฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษาในระบบระดับ ปวช. และระดับ ปวส. (ระดับ 1)
 
             ฐานข้อมูลบุคลากร และปริมาณงานของสถานศึกษาเป็นปัจจุบัน (update) และผ่านการรับรองความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้อำนวยการสถานศึกษา  (ระดับ 3)

             ฐานข้อมูลบุคลากร และปริมาณงานของสถานศึกษาเป็นปัจจุบัน (update) และผ่านการรับรองความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้อำนวยการสถานศึกษา  และรายงานสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภายในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             มีการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษาตามแบบฟอร์มที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด  และฐานข้อมูลนักเรียนนักศึกษาในระบบระดับ ปวช. และระดับ ปวส. (ระดับ 1)
 
             ฐานข้อมูลบุคลากร และปริมาณงานของสถานศึกษาเป็นปัจจุบัน (update) และผ่านการรับรองความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้อำนวยการสถานศึกษา  (ระดับ 3)

             ฐานข้อมูลบุคลากร และปริมาณงานของสถานศึกษาเป็นปัจจุบัน(update) และผ่านการรับรองความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้อำนวยการสถานศึกษา และรายงานสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภายในวันที่ 25 สิงหาคม 2560 (ระดับ 5)  
   

         ตัวชี้วัดที่ 4.2 :  ร้อยละของผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในภาพรวมของสถานศึกษาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560                      
         นำ้หนัก:ร้อยละ 50

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 44   (ระดับ 1)
 
             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 45   (ระดับ 2)

             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 46   (ระดับ 3)

             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 47   (ระดับ 4)

             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 48   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 88   (ระดับ 1)
 
             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 90   (ระดับ 2)

             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 92   (ระดับ 3)

             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 94   (ระดับ 4)

             การวัดผลผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เท่ากับร้อยละ 96   (ระดับ 5)


         ตัวชี้วัดที่ 4.3 :  ระดับความสำเร็จในการนำเทคโนดลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา                                      
         นำ้หนัก:ร้อยละ 25

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีการจัดทำแผนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560  (ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             สถานศึกษามีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาตามแผนจำนวน 1 รูปแบบ (ระดับ 1)
 
             สถานศึกษามีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาตามแผนจำนวน 3 รูปแบบ (ระดับ 3)

             สถานศึกษามีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาตามแผนจำนวน 5 รูปแบบขึ้นไป (ระดับ 5)




5. ศักยภาพในการเป็นส่วนราชการที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศตามแผนหรือนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการหรือนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ( Potential  Based ) ประกอบกับผลการประเมินโดยองค์กรภายใน หรือภายนอกประเทศ

ตัวชี้วัดที่ 5 :  การส่งเสริม  สนับสนุนนักเรียน นักศึกษา หรือครูเข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาชีพ  หรืองานวิชาการภายในประเทศระดับจังหวัดขึ้นไปหรือภายนอกประเทศ 
        
         นำ้หนัก:ร้อยละ 100

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 1

             มีการจัดทำแผนการส่งเสริม  สนับสนุนนักเรียน นักศึกษา หรือครูเข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาชีพ  หรืองานวิชาการภายในประเทศระดับจังหวัดขึ้นไปหรือภายนอกประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ระดับ 1)
 
             แผนฯ ได้รับความเห็นชอบ  และอนุมัติจากผู้อำนวยการสถานศึกษา   (ระดับ 5)

         เกณฑ์การให้คะแนน  :  รอบที่ 2

             สถานศึกษามีการส่งเสริม  สนับสนุนนักเรียน นักศึกษา หรือครูเข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาชีพ  หรืองานวิชาการภายในประเทศระดับจังหวัดขึ้นไปหรือภายนอกประเทศ  แต่ไม่ได้รับรางวัล (ระดับ 1)

             สถานศึกษามีการส่งเสริม  สนับสนุนนักเรียน นักศึกษา หรือครูเข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาชีพ  หรืองานวิชาการภายในประเทศระดับจังหวัดขึ้นไปหรือภายนอกประเทศ  แต่ไม่ได้รับรางวัล  ได้รับรางวัลอื่นนอกเหนือจากรางวัลอันดับที่ 1-3 (ระดับ 3)

             สถานศึกษามีการส่งเสริม  สนับสนุนนักเรียน นักศึกษา หรือครูเข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาชีพ  หรืองานวิชาการภายในประเทศระดับจังหวัดขึ้นไปหรือภายนอกประเทศ    แต่ไม่ได้รับรางวัล   ได้รับรางวัลอันดับที่ 1-3 (ระดับ 5)